🌅การเรียนรู้ในวันนี้👱
กิจกรรมที่ 1 อาจารย์มอบหมายให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มตามโรงเรียนที่ได้ไปสังเกตการสอนจากนั้นให้นักศึกษาทบทวนความรู้ที่มีอยู่ โดยอาจารย์ได้ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องของนวัตกรรมในการสอนและอาจารย์ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมในการสอนต่างๆดังนี้
รูปแบบการจัดการเรียนการแบบโครงการ
การสอนแบบโครงการเป็นวิธีที่มีโครงสร้างที่ซับซ้อน แต่ก็มีความยืดหยุ่น ครูที่ใช้การสอนแบบนี้ได้อย่างเหมาะสม เด็กจะมีแรงจูงใจ และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น ทั้งนี้ โครงสร้างของการสอนแบบโครงการมีดังต่อไปนี้
1. การอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion)
2. การทำงานภาคสนาม (Field Work)
3. การนำเสนอประสบการณ์ (Representation)
4. การสืบค้น (Investigation)
5. การจัดแสดง (Display)
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไฮสโคป
การสอนแบบโครงการเป็นวิธีที่มีโครงสร้างที่ซับซ้อน แต่ก็มีความยืดหยุ่น ครูที่ใช้การสอนแบบนี้ได้อย่างเหมาะสม เด็กจะมีแรงจูงใจ และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น ทั้งนี้ โครงสร้างของการสอนแบบโครงการมีดังต่อไปนี้
1. การอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion)
2. การทำงานภาคสนาม (Field Work)
3. การนำเสนอประสบการณ์ (Representation)
4. การสืบค้น (Investigation)
5. การจัดแสดง (Display)
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไฮสโคป
เน้นการเรียนรู้แบบลงมือกระทำผ่านมุมเล่นที่หลากหลายด้วยสื่อและกิจกรรมที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กและการแก้ปัญหาอย่างกระตือรือร้น การเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning)หลักการที่สําคัญของไฮสโคปในระดับปฐมวัย คือ การเรียนรู้แบบลงมือกระทํา ซึ่งถือว่าเป็นพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาเด็ก การเรียนรู้แบบลงมือกระทําจะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุดในโปรแกรมที่พัฒนาเด็กอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการ การเรียนรู้แบบลงมือกระทํา หมายถึง การเรียนรู้ซึ่งเด็กได้จัดกระทํากับวัตถุ ได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล ความคิดและเหตุการณ์ จนกระทั่งสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
รูปแบบการจัดการเรียนสอนแบบวอร์ดอฟ
การเรียนการสอนตามแบบวอลดอร์ฟเป็นวิธีการตามแบบธรรมชาติ เป็นไปตามบรรยากาศของชุมชนและตารางกิจกรรมประจำวัน ที่ครูและผู้เรียนจะเรียนรู้ร่วมกันตามความสนใจของเด็ก วิธีการจัดการเรียนการสอนจะเป็นการจัดกระทำทั้งระบบตั้งแต่บรรยากาศของโรงเรียน สิ่งแวดล้อมและห้องเรียนต้องเป็นไปตามวิถีธรรมชาติ รวมถึงการจัดการเรียนการสอนของครู ในขั้นตอนการสอนของครูจะมีลักษณะเฉพาะต่างจากการเรียนการสอนแบบอื่น ๆ ตรงที่การกระตุ้นการเรียนรู้เริ่มจากการแสดงแบบให้เด็กเห็นตามบรรยากาศที่จูงใจ
การสอนแบบภาษาธรรมชาติ
การสอนภาษาแบบธรรมชาตินับว่ามีคุณค่าอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษาของเด็ก คือ ช่วยให้เด็กมีความสนุกสนานในการเรียนภาษา และมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ช่วยให้เด็กได้รับการพัฒนาทางภาษาทั้งด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียนอย่างครอบคลุมทุกด้านและเต็มศักยภาพ อีกทั้งยังช่วยให้ครูและผู้ปกครองเกิดความเข้าใจในพัฒนาการทางด้านภาษาด้านการอ่านและการเขียนของเด็กเพิ่มขึ้น
รูปแบบการสอนแบบมอนเตสเซอรี่
ช่วยพัฒนา หรือให้เด็กมีอิสระในด้านบุคลิกภาพของเด็กในวิถีทางต่างๆ อย่างมากมาย"สิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระบบมอนเตสเซอรี่ คือ การจัดระบบเพื่อสะท้อนถึงศักยภาพที่แท้จริง และความต้องการของเด็ก เพื่อเด็กจะได้พัฒนาบุคลิกภาพของเขาลักษณะการสอนระบบนี้ เด็กจะก้าวหน้าไปตามธรรมชาติตามพัฒนาการของเด็ก เด็กมีอิสรภาพในการเลือกจากสิ่งแวดล้อมที่มีสิ่งต่างๆ ซึ่งสนองความพอใจ และความต้องการภายในของเขา เป็นการจัดระบบของตนเอง เพื่อเด็กจะได้ปรับตัวเข้ากับสภาพของสังคมและสิ่งมีชีวิตต่างๆ
หลังจากนั้นให้แต่ละกลุ่มเราถึงกิจกรรมที่ได้ทำกันในแต่ละวันและได้ให้ความรู้ว่าในแต่ละวันเด็กควรที่จะมีกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ประกอบด้วย
รูปแบบการจัดการเรียนสอนแบบวอร์ดอฟ
การเรียนการสอนตามแบบวอลดอร์ฟเป็นวิธีการตามแบบธรรมชาติ เป็นไปตามบรรยากาศของชุมชนและตารางกิจกรรมประจำวัน ที่ครูและผู้เรียนจะเรียนรู้ร่วมกันตามความสนใจของเด็ก วิธีการจัดการเรียนการสอนจะเป็นการจัดกระทำทั้งระบบตั้งแต่บรรยากาศของโรงเรียน สิ่งแวดล้อมและห้องเรียนต้องเป็นไปตามวิถีธรรมชาติ รวมถึงการจัดการเรียนการสอนของครู ในขั้นตอนการสอนของครูจะมีลักษณะเฉพาะต่างจากการเรียนการสอนแบบอื่น ๆ ตรงที่การกระตุ้นการเรียนรู้เริ่มจากการแสดงแบบให้เด็กเห็นตามบรรยากาศที่จูงใจ
การสอนแบบภาษาธรรมชาติ
การสอนภาษาแบบธรรมชาตินับว่ามีคุณค่าอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษาของเด็ก คือ ช่วยให้เด็กมีความสนุกสนานในการเรียนภาษา และมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ช่วยให้เด็กได้รับการพัฒนาทางภาษาทั้งด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียนอย่างครอบคลุมทุกด้านและเต็มศักยภาพ อีกทั้งยังช่วยให้ครูและผู้ปกครองเกิดความเข้าใจในพัฒนาการทางด้านภาษาด้านการอ่านและการเขียนของเด็กเพิ่มขึ้น
รูปแบบการสอนแบบมอนเตสเซอรี่
ช่วยพัฒนา หรือให้เด็กมีอิสระในด้านบุคลิกภาพของเด็กในวิถีทางต่างๆ อย่างมากมาย"สิ่งแวดล้อมของโรงเรียนระบบมอนเตสเซอรี่ คือ การจัดระบบเพื่อสะท้อนถึงศักยภาพที่แท้จริง และความต้องการของเด็ก เพื่อเด็กจะได้พัฒนาบุคลิกภาพของเขาลักษณะการสอนระบบนี้ เด็กจะก้าวหน้าไปตามธรรมชาติตามพัฒนาการของเด็ก เด็กมีอิสรภาพในการเลือกจากสิ่งแวดล้อมที่มีสิ่งต่างๆ ซึ่งสนองความพอใจ และความต้องการภายในของเขา เป็นการจัดระบบของตนเอง เพื่อเด็กจะได้ปรับตัวเข้ากับสภาพของสังคมและสิ่งมีชีวิตต่างๆ
หลังจากนั้นให้แต่ละกลุ่มเราถึงกิจกรรมที่ได้ทำกันในแต่ละวันและได้ให้ความรู้ว่าในแต่ละวันเด็กควรที่จะมีกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ประกอบด้วย
👉1.กิจกรรมเครื่องไหวและจังหวะ
👉2.กิจกรรมเสริมประสบการณ์
👉3.กิจกรรมเสรี
👉4.กิจกรรมสร้างสรรค์
👉5.กิจกรรมกลางแจ้ง
👉6.กิจกรรมเกมการศึกษา
กิจกรรมที่ 2 จากนั้นอาจารย์ให้ร้องเพลงกุมมือกันและเพลงนั่งสมาธิ
ของศาสตราจารย์อำไพ สุจริตคุณ เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกเพลงไปใช้เก็บเด็ก
ครูพูดกับเด็กช้าๆเด็กยืนขึ้นยืนตัวตรง เด็กเด็กยกมือขวามากุม
ที่ข้อมือซ้ายแล้วหลับตาลงช้าๆแล้วครูร้องเพลง
✋เพลงมือกุมกัน ✋
มือกุมกันแล้วก็ยืนตรงตรง(ซ้ำ)
ยืนหนอ ยืนหนอ ยืนหนอ ยืนตรง
(เมื่อร้องจบ)ครูพูดกับเด็กว่ายกมือขวามาไว้ข้างลำตัวเรายกมือซ้ายมาวางข้างลำตัว
แล้วเด็กๆค่อยๆลืมตาขึ้น
🙇เพลงนั่งสมาธิ🙏
นั่งขัดสมาธิให้ดี สองมือวางทับกันทันที
หลับตาตั้งตัวตรงสิ ตั้งสติให้ดีภาวนาในใจ
พุธโธ พุธโธ พุธโธ
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมสุดท้ายของวันนี้อาจารย์แจกกระดาษชาร์ทให้กลุ่มละหนึ่งแผ่นและสีกลุ่มละหนึ่งกล่องให้แต่ละกลุ่มปรึกษากันเกี่ยวกับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะที่เคยเรียนมาว่ามีเนื้อหาอะไรบ้างมีสิ่งที่เคยเรียนรู้เกี่ยวกับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะอะไรบ้าง จากนั้นอาจารย์ให้นำชาร์ทของทุกกลุ่มมา ติดเรียงกันไว้ที่หน้าห้องอย่างเหมาะสมแล้วอาจารย์ก็ให้ข้อสรุปเกี่ยวกับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นอันเสร็จสิ้นของกิจกรรมภายในวันนี้
💚การประเมิน💛
ประเมินตนเอง
มีความพร้อมในการเรียน ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน จัดทำงานตามที่อาจารย์ได้มอบหมาย
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆเข้าเรียนตรงเวลา และตั้งใจฟังอาจารย์บรรยายการสอน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา ยิ้มแย้มแจ่มใส มีการเตรียมความพร้อมในการสอน และอุปกรณ์ต่างๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น